คำกริยาวิเศษณ์ คือคำที่ใช้ขยายคำกริยาหรืออธิบายลักษณะการกระทำกริยานอกจ การแปล - คำกริยาวิเศษณ์ คือคำที่ใช้ขยายคำกริยาหรืออธิบายลักษณะการกระทำกริยานอกจ จีน วิธีการพูด

คำกริยาวิเศษณ์ คือคำที่ใช้ขยายคำกริ

คำกริยาวิเศษณ์ คือคำที่ใช้ขยายคำกริยาหรืออธิบายลักษณะการกระทำกริยานอกจากนี้ยังใช้ขยายคำคุณศัพท์ และบางคำใช้ขยายคำกริยาวิเศษณ์ด้วยกันได้คำกริยาวิเศษณ์มีทั้งที่เป็นคำเดียวและเป็นกลุ่มคำ

ปัญหาในการใช้คำกริยาวิเศษณ์ คือการวางตำแหน่งของคำในประโยค เพราะในบางครั้งความหมายของประโยคจะเปลี่ยนไป เมื่อวางคำกริยาวิเศษณ์ไว้ในตำแหน่งที่ต่างกัน

ประเภทและตำแหน่งของคำกริยาวิเศษณ์
คำกริยาวิเศษณ์มีหลายประเภทและจะวางไว้ตำแหน่งใดขึ้นอยู่กับประเภทของคำกริยาวิเศษณ์นั้น ๆ ประเภทของคำกริยาวิเศษณ์มีดังนี้

1) คำกริยาวิเศษณ์ที่อธิบายลักษณะการกระทำกริยา ( Adverb of Manner)

คำกริยาวิเศษณ์กลุ่มนี้เป็นกลุ่มใหญ่ในภาษาอังกฤษ เช่น lazily, beautifully, strictly, helpfully ซึ่งจะตอบคำถาม how? ดังตัวอย่างต่อไปนี้
The boy is sitting lazily under a tree in the garden.

2) คำกริยาวิเศษณ์ที่บอกสถานที่การกระทำกริยา (Adverb of Place )

คำกริยาวิเศษณ์กลุ่มนี้ใช้บอกสถานที่ เช่น there, in the (place), here, away, somewhere, nowhere, upstairs, etc. ซึ่งจะตอบคำถาม where? ดังตัวอย่างต่อไปนี้
My brother sat there .
His sister is working in the library . ( กลุ่มคำทำหน้าที่เป็นคำกริยาวิเศษณ์)

3) คำกริยาวิเศษณ์ที่บอกเวลาในการกระทำกริยา ( Adverb of Time)

คำกริยาวิเศษณ์กลุ่มนี้ใช้บอกเวลา เช่น now, tomorrow, recently, afterwards, at once, since then, etc. ซึ่งจะตอบคำถาม when? ดังตัวอย่างต่อไปนี้
My brother is leaving now .
His sister will fly to England tonight .

** คำกริยาวิเศษณ์ที่อธิบายลักษณะการกระทำกริยา ( adverb of manner) คำกริยาวิเศษณ์ที่ บอกสถานที่การกระทำกริยา ( adverb of place) และคำกริยาวิเศษณ์ที่บอกเวลาในการกระทำกริยา ( adverb of time) เมื่อนำมาใช้ในประโยคเดียวกัน มักจะเรียงดังนี้

adverb of manner + adverb of place + adverb of time

ยกเว้น คำต่อไปนี้ away, back, down, forward, home, in, off, on, out, round, up และ here, there จะต้องวางไว้หน้า adverb of manner

4) คำกริยาวิเศษณ์บอกความถี่ (Adverb of Frequency)

คำกริยาวิเศษณ์บอกความถี่ เป็นคำกริยาวิเศษณ์ที่บอกว่ากริยาที่คำกริยาวิเศษณ์ขยายนั้นมีการกระทำบ่อยอย่างไร แบ่งย่อยออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่ม A: เช่นคำต่อไปนี้ always, usually, frequently, often, sometimes, occasionally,
periodically, repeatedly, continually, once, twice, etc. มีความหมายเป็นเชิงบวก ( positive) และใช้กับกริยา
affirmative หรือ negative ได้ เช่น
He always goes to school very early.
We did not always go to school by taxi.
กลุ่ม B: เช่นคำต่อไปนี้ ever, hardly ever, never, rarely, scarcely (ever), seldom, etc. มีความหมายเป็นเชิงลบ ( negative) และใช้กับกริยา affirmative
Mike has never eaten Indian food before.
We seldom go to the cinema because we do not have much time.

การใช้คำกริยาวิเศษณ์บอกความถี่

มักจะใช้กับ simple present tense แต่ใช้กับ tense อื่น ๆได้ เช่น

It is rarely cold in Bangkok.
We sometimes visit our relatives in the North.

ตำแหน่งของคำกริยาวิเศษณ์บอกความถี่ คำกริยาวิเศษณ์บอกความถี่ต้องวางไว้ดังนี้

- หลัง BE แต่หน้ากริยาทั่วไปในประโยคที่เป็น simple tense
He is always late for the first class.
We sometimes go shopping at the mall.
Those boys never ate the fruit before.
- คำกริยาทั่วไปที่อยู่ในรูป tense ที่มีกริยาช่วย เช่น ใน continuous tense, perfect tense, etc. คำกริยาวิเศษณ์ประเภทนี้ต้องวางไว้หลังกริยาช่วย ถ้ามีกริยาช่วย 2 ตัว ต้องวางไว้หลังกริยาช่วยตัวแรก เช่น
I could never understand what he said.

คำกริยาวิเศษณ์บอกความถี่ที่ใช้บ่อย เรียงลำดับจากมากไปน้อย

always, usually, frequently, often, sometimes / occasionally, seldom / hardly ever / rarely, never,
once, twice, etc. 5) คำกริยาวิเศษณ์บอกปริมาณ (Adverb of Degree)
คำกริยาวิเศษณ์บอกปริมาณ เป็นคำกริยาวิเศษณ์ที่ขยายคำคุณศัพท์หรือคำกริยาวิเศษณ์อื่น เช่น absolutely, almost, barely, completely, enough, entirely, fairly, far, hardly, just, much, nearly, quite, really, rather, so, too, very, etc. ดังตัวอย่าง
The two ladies are almost ready .
This article is really interesting and it is quite easy to understand.

6) คำกริยาวิเศษณ์ที่เน้นคำหรือข้อความ (Focus Adverb)

คำกริยาวิเศษณ์เหล่านี้ เช่น only, just, really, too ใช้เพื่อเน้นความที่ต้องการสื่อ จึงมักวางไว้ชิดกับคำที่ต้องการขยาย เช่น
Mr. Brown has only one son. (He has no more than one.)
Just write your name over this line. (This is all you have to do.)



7) คำกริยาวิเศษณ์ที่บอกทัศนคติ (Viewpoint Adverb)

คำกริยาวิเศษณ์เหล่านี้ เช่น generally, hopefully, surely, clearly, probably, certainly, etc. วางไว้ต้นประโยค หรือหน้ากริยาหลักหรือกริยาช่วย เช่น
Clearly , the truck driver should have stopped when he saw the train coming.
Hopefully , the president will change his mind.
She probably did not understand the notice on the front gate.
John certainly saw the message we left, so he did not call us.



8) คำกริยาวิเศษณ์เชื่อมความ (Conjunctive Adverb)

คำกริยาวิเศษณ์เหล่านี้ เช่น however, moreover, therefore, as a result, consequently, etc. ใช้เพื่อเชื่อมความที่เป็นความแย้งกัน ความที่เป็นเหตุเป็นผลกัน เป็นต้น วางไว้ต้นประโยคหรือบางคำวางไว้ระหว่างความที่ต้องการเชื่อม ซึ่งมักจะคั่นด้วย semicolon (;) เช่น
He was ill; however , he went to the meeting.
He drove too fast; as a result , he was fined.

การเปรียบเทียบคำกริยาวิเศษณ์

การเปรียบเทียบคำกริยาวิเศษณ์มีอยู่ 3 ขั้น เช่นเดียวกับการเปรียบเทียบคำคุณศัพท์

1) ขั้นธรรมดา ( Positive Degree)

2) ขั้นกว่า ( Comparative Degree)
3) ขั้นสุด ( Superlative Degree)
การเปรียบเทียบคำกริยาวิเศษณ์ต่างจากการเปรียบเทียบคำคุณศัพท์คือ การเปรียบเทียบคำกริยาวิเศษณ์เป็นการเปรียบเทียบลักษณะการกระทำกริยาอาการ

1) การเปรียบเทียบขั้นธรรมดา (Positive Degree)
การเปรียบเทียบขั้นธรรมดา เป็นการเปรียบเทียบการกระทำกริยาของคนหรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ จำนวน 2

วิธีการเปรียบเทียบใช้โครงสร้าง ดังนี้

verb + as + adverb + as

like, alike, unlike, not alike เช่น

The boy swam like a fish.
John always works hard like his father.
Unlike his brother, Pete enjoys eating Chinese food.

จากตัวอย่าง การใช้ like, alike, unlike, not alike มีโครงสร้างดังนี้

2) การเปรีย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (จีน) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
คำกริยาวิเศษณ์ คือคำที่ใช้ขยายคำกริยาหรืออธิบายลักษณะการกระทำกริยานอกจากนี้ยังใช้ขยายคำคุณศัพท์ และบางคำใช้ขยายคำกริยาวิเศษณ์ด้วยกันได้คำกริยาวิเศษณ์มีทั้งที่เป็นคำเดียวและเป็นกลุ่มคำ

ปัญหาในการใช้คำกริยาวิเศษณ์ คือการวางตำแหน่งของคำในประโยค เพราะในบางครั้งความหมายของประโยคจะเปลี่ยนไป เมื่อวางคำกริยาวิเศษณ์ไว้ในตำแหน่งที่ต่างกัน

ประเภทและตำแหน่งของคำกริยาวิเศษณ์
คำกริยาวิเศษณ์มีหลายประเภทและจะวางไว้ตำแหน่งใดขึ้นอยู่กับประเภทของคำกริยาวิเศษณ์นั้น ๆ ประเภทของคำกริยาวิเศษณ์มีดังนี้

1) คำกริยาวิเศษณ์ที่อธิบายลักษณะการกระทำกริยา ( Adverb of Manner)

คำกริยาวิเศษณ์กลุ่มนี้เป็นกลุ่มใหญ่ในภาษาอังกฤษ เช่น lazily, beautifully, strictly, helpfully ซึ่งจะตอบคำถาม how? ดังตัวอย่างต่อไปนี้
The boy is sitting lazily under a tree in the garden.

2) คำกริยาวิเศษณ์ที่บอกสถานที่การกระทำกริยา (Adverb of Place )

คำกริยาวิเศษณ์กลุ่มนี้ใช้บอกสถานที่ เช่น there, in the (place), here, away, somewhere, nowhere, upstairs, etc. ซึ่งจะตอบคำถาม where? ดังตัวอย่างต่อไปนี้
My brother sat there .
His sister is working in the library . ( กลุ่มคำทำหน้าที่เป็นคำกริยาวิเศษณ์)

3) คำกริยาวิเศษณ์ที่บอกเวลาในการกระทำกริยา ( Adverb of Time)

คำกริยาวิเศษณ์กลุ่มนี้ใช้บอกเวลา เช่น now, tomorrow, recently, afterwards, at once, since then, etc. ซึ่งจะตอบคำถาม when? ดังตัวอย่างต่อไปนี้
My brother is leaving now .
His sister will fly to England tonight .

** คำกริยาวิเศษณ์ที่อธิบายลักษณะการกระทำกริยา ( adverb of manner) คำกริยาวิเศษณ์ที่ บอกสถานที่การกระทำกริยา ( adverb of place) และคำกริยาวิเศษณ์ที่บอกเวลาในการกระทำกริยา ( adverb of time) เมื่อนำมาใช้ในประโยคเดียวกัน มักจะเรียงดังนี้

adverb of manner + adverb of place + adverb of time

ยกเว้น คำต่อไปนี้ away, back, down, forward, home, in, off, on, out, round, up และ here, there จะต้องวางไว้หน้า adverb of manner

4) คำกริยาวิเศษณ์บอกความถี่ (Adverb of Frequency)

คำกริยาวิเศษณ์บอกความถี่ เป็นคำกริยาวิเศษณ์ที่บอกว่ากริยาที่คำกริยาวิเศษณ์ขยายนั้นมีการกระทำบ่อยอย่างไร แบ่งย่อยออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่ม A: เช่นคำต่อไปนี้ always, usually, frequently, often, sometimes, occasionally,
periodically, repeatedly, continually, once, twice, etc. มีความหมายเป็นเชิงบวก ( positive) และใช้กับกริยา
affirmative หรือ negative ได้ เช่น
He always goes to school very early.
We did not always go to school by taxi.
กลุ่ม B: เช่นคำต่อไปนี้ ever, hardly ever, never, rarely, scarcely (ever), seldom, etc. มีความหมายเป็นเชิงลบ ( negative) และใช้กับกริยา affirmative
Mike has never eaten Indian food before.
We seldom go to the cinema because we do not have much time.

การใช้คำกริยาวิเศษณ์บอกความถี่

มักจะใช้กับ simple present tense แต่ใช้กับ tense อื่น ๆได้ เช่น

It is rarely cold in Bangkok.
We sometimes visit our relatives in the North.

ตำแหน่งของคำกริยาวิเศษณ์บอกความถี่ คำกริยาวิเศษณ์บอกความถี่ต้องวางไว้ดังนี้

- หลัง BE แต่หน้ากริยาทั่วไปในประโยคที่เป็น simple tense
He is always late for the first class.
We sometimes go shopping at the mall.
Those boys never ate the fruit before.
- คำกริยาทั่วไปที่อยู่ในรูป tense ที่มีกริยาช่วย เช่น ใน continuous tense, perfect tense, etc. คำกริยาวิเศษณ์ประเภทนี้ต้องวางไว้หลังกริยาช่วย ถ้ามีกริยาช่วย 2 ตัว ต้องวางไว้หลังกริยาช่วยตัวแรก เช่น
I could never understand what he said.

คำกริยาวิเศษณ์บอกความถี่ที่ใช้บ่อย เรียงลำดับจากมากไปน้อย

always, usually, frequently, often, sometimes / occasionally, seldom / hardly ever / rarely, never,
once, twice, etc. 5) คำกริยาวิเศษณ์บอกปริมาณ (Adverb of Degree)
คำกริยาวิเศษณ์บอกปริมาณ เป็นคำกริยาวิเศษณ์ที่ขยายคำคุณศัพท์หรือคำกริยาวิเศษณ์อื่น เช่น absolutely, almost, barely, completely, enough, entirely, fairly, far, hardly, just, much, nearly, quite, really, rather, so, too, very, etc. ดังตัวอย่าง
The two ladies are almost ready .
This article is really interesting and it is quite easy to understand.

6) คำกริยาวิเศษณ์ที่เน้นคำหรือข้อความ (Focus Adverb)

คำกริยาวิเศษณ์เหล่านี้ เช่น only, just, really, too ใช้เพื่อเน้นความที่ต้องการสื่อ จึงมักวางไว้ชิดกับคำที่ต้องการขยาย เช่น
Mr. Brown has only one son. (He has no more than one.)
Just write your name over this line. (This is all you have to do.)



7) คำกริยาวิเศษณ์ที่บอกทัศนคติ (Viewpoint Adverb)

คำกริยาวิเศษณ์เหล่านี้ เช่น generally, hopefully, surely, clearly, probably, certainly, etc. วางไว้ต้นประโยค หรือหน้ากริยาหลักหรือกริยาช่วย เช่น
Clearly , the truck driver should have stopped when he saw the train coming.
Hopefully , the president will change his mind.
She probably did not understand the notice on the front gate.
John certainly saw the message we left, so he did not call us.



8) คำกริยาวิเศษณ์เชื่อมความ (Conjunctive Adverb)

คำกริยาวิเศษณ์เหล่านี้ เช่น however, moreover, therefore, as a result, consequently, etc. ใช้เพื่อเชื่อมความที่เป็นความแย้งกัน ความที่เป็นเหตุเป็นผลกัน เป็นต้น วางไว้ต้นประโยคหรือบางคำวางไว้ระหว่างความที่ต้องการเชื่อม ซึ่งมักจะคั่นด้วย semicolon (;) เช่น
He was ill; however , he went to the meeting.
He drove too fast; as a result , he was fined.

การเปรียบเทียบคำกริยาวิเศษณ์

การเปรียบเทียบคำกริยาวิเศษณ์มีอยู่ 3 ขั้น เช่นเดียวกับการเปรียบเทียบคำคุณศัพท์

1) ขั้นธรรมดา ( Positive Degree)

2) ขั้นกว่า ( Comparative Degree)
3) ขั้นสุด ( Superlative Degree)
การเปรียบเทียบคำกริยาวิเศษณ์ต่างจากการเปรียบเทียบคำคุณศัพท์คือ การเปรียบเทียบคำกริยาวิเศษณ์เป็นการเปรียบเทียบลักษณะการกระทำกริยาอาการ

1) การเปรียบเทียบขั้นธรรมดา (Positive Degree)
การเปรียบเทียบขั้นธรรมดา เป็นการเปรียบเทียบการกระทำกริยาของคนหรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ จำนวน 2

วิธีการเปรียบเทียบใช้โครงสร้าง ดังนี้

verb + as + adverb + as

like, alike, unlike, not alike เช่น

The boy swam like a fish.
John always works hard like his father.
Unlike his brother, Pete enjoys eating Chinese food.

จากตัวอย่าง การใช้ like, alike, unlike, not alike มีโครงสร้างดังนี้

2) การเปรีย
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: